Cyber security กับ 10 พฤติกรรมเสี่ยง
วันที่ 22 ก.ค. 2565
Cyber security กับ 10 พฤติกรรมเสี่ยง
Cyber security กับ 10 พฤติกรรมเสี่ยง การ Work From Home อาจทำให้พนักงานหลายคนชื่นชอบกับความสะดวกสบายที่ไม่ต้องเดินทาง แต่ในแง่ของการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ Network ต่าง ๆ แล้วนี่คือความยากลำบากและท้าทายในการสร้าง Cyber Security อย่างแท้จริง เพราะแค่ความหละหลวมหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของพนักงานเพียง 1 คน ก็อาจหมายถึงความเสี่ยงของทั้งองค์กรที่จะเกิด Cyber Attack จนนำมาซึ่งความเสียหายมากมายในทันที
และเหล่านี้คือ 10 พฤติกรรมเสี่ยงของ User (ผู้ใช้งาน) ที่อาจทำให้องค์กรของคุณต้องเสี่ยงกับการถูกโจมตี Cyber Attack โดยไม่รู้ตัว
1. ใช้ซอฟต์แวร์เก่าที่ขาดการอัพเดต
ช่องโหว่ในระบบปฏิบัติการ (OS) โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ต่าง ๆ นี่แหละที่ถือเป็นช่องทางหลักซึ่งถูกใช้ในการก่ออาชญากรรมทางไซเบอร์มากที่สุด โดยจากสถิติในปี 2020 นั้นมีการค้นพบช่องโหว่หรือ bugs เหล่านี้มากกว่า 18,000 ครั้ง แต่นับเป็นข่าวดีที่การแก้ปัญหานี้ทำได้ง่าย ๆ เพียงแค่ตั้งค่าให้โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในเครื่องได้มีการอัพเดตแบบอัตโนมัติก็สามารถอุดช่องโหว่นี้ได้เป็นอย่างดีแล้ว
2. ใช้รหัสผ่านเดิม ๆ ซ้ำ ๆ หรือง่ายต่อการคาดเดา
3. ใช้ Wi-Fi สาธารณะ
4. คลิก ! ก่อนคิด
5. ไม่มีโปรแกรมป้องกันไวรัสหรือมัลแวร์ใน Device ต่างๆ
6. เข้าใช้งานเว็บไซต์ที่ไม่ปลอดภัย
7. ใช้ชีวิตส่วนตัวปะปนกับการทำงาน
8. หลงให้ข้อมูลส่วนตัวกับมิจฉาชีพในโทรศัพท์
9. ไม่มีการสำรองข้อมูลเก็บไว้
10. เชื่อมต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างไม่ระมัดระวัง
เป็นยังไงกันบ้างกับ 10 พฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ สารภาพกันมาดี ๆ ว่าเผลอทำข้อไหนไปแล้วบ้าง? GeniusSoft แนะนำว่าขอให้ผู้ใช้งาน หรือ User ทุกคนหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ให้ดี เพื่อที่จะได้ไม่มีใครกลายต้นเหตุที่ทำให้องค์กรของตัวเองต้องตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรมทางไซเบอร์
ปัจจุบัน GeniusSoft ได้ให้บริการโซลูชั่นด้าน Data Loss Prevention (DLP) ชั้นนำอย่าง ForcePoint และ Digital Guardian โดยเป็นโซลูชั่นระบบความปลอดภัยด้านข้อมูล ด้วยฟีเจอร์อย่าง Endpoint Data Protection ที่สามารถป้องกันไฟล์ข้อมูลตั้งแต่ภายในองค์กรจนไปถึงการส่งออกไปนอกองค์กร โดยจะไม่ขัดขวางต่อการทำงานปกติ และทันทีที่เกิดการกระทำต่างๆ ที่อาจทำให้เกิดการรั่วไหลของข้อมูล ระบบจะทำการตรวจสอบ และสกัดกั้นการกระทำดังกล่าวทันที ช่วยลดปริมาณข้อมูลที่ส่งออกนอกองค์กรโดยไม่ได้รับอนุญาต รวมถึงป้องกันการถูกโจมตี Cyber Attack จากช่องโหว่ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ Endpoint User เท่ากับลดความเสียหายของบริษัทอีกด้วย
ด้วยกระบวนการ Data Classification จะทำให้เราสามารถกำหนดนโยบายในการป้องกันข้อมูล หรือ DLP Policy ได้ถูกต้องเหมาะสม ช่วยป้องกันไฟล์สำคัญของบริษัทไม่ให้เกิดการรั่วไหลออกไป เช่น ไฟล์การเงิน ไฟล์ฐานข้อมูลลูกค้า ไฟล์ออกแบบ ไฟล์สูตรการผลิต ไฟล์เอกสารสัญญา หรือแม้แต่แผนงานลับที่ยังไม่เปิดเผย ไม่ให้ถูกส่งออกไปภายนอกองค์กรได้
หากลูกค้าท่านใดสนใจ ให้ทีมเข้าไปนำเสนอ Solution สามารถติดเราได้ที่ GeniusSoft ได้ทุกช่องทางค่ะ หรือรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่… www.geniussoft.co.th/data-security-pdpa-compliance-solutions/ หรือติดต่อ….
We’ll answer your questions and help with your organization’s needs.
Contact Us
Mr. Prasit P. (Business Development Executive)
Email : prasit.p@geniussoft.co.th
Mobile : 086-398-9029
Contact
+66(0) 2 004 9355
+66(0) 2 064 7433
info@geniussoft.co.th
Follow Us
Location
88 Paso Tower, 15th floor, unit B2, Silom Road, Suriyawong, Bangrak, Bangkok, Thailand 10500